Checklist ของผม (Technical coaching and Team coaching)

Amorndej <Ko-Dookie>
odds.team
Published in
2 min readNov 21, 2019

ในช่วงเวลาตอนเช้าก่อนทำงาน ผมมักจะชอบ review checklist ในสิ่งที่ผมต้องทำเสมอ เพราะมันช่วยให้ผมไม่หลุด Focusในการทำงานในอาชีพของผม 😉

รายการ checklist ที่ผมมักจะยึดเป็นหลักในการทำงาน มันเกิดจากในช่วงระยะแรกๆที่ผมเปลี่ยนจาก developer มาเป็น Technical coach มันก็มีในบางทีผมมักจะสับสนว่าควรทำอะไรดี ไม่ควรทำอะไรดี สุดท้ายแล้วผมได้รับคำปรึกษาจาก พี่เจน Odd-e(สุดหล่อหน้าตี๋ของพวกเรา😄) จึงได้ checklist นี้มา ซึ่งมันมาจากบทความหนึ่งของ Less framework ในหัวข้อ Adoption หมวด coaching ( ตามใน link นี้ได้เลยฮะ)โดยในบทความจะการกล่าวถึงเรื่อง “Three levels of coaching” ซึ่งประกอบไปด้วย

Organizational coaching: ดูภาพรวมขององค์กร ดูแลหลายๆทีม และ focus ที่การ improvec และ โครงสร้างขององค์กร เป็นหลัก

Team coaching: ดูแล 1หรือ 2 ทีม หรือ มากกว่า(ในความคิดผมไม่ควรเกิน 3 นะ 😉) focus ที่ process ของทีม ถ้ามองภาพง่ายๆคือ role Scrum master นั้นไงครัช

Technical practices coaching : ดูแลทีมเดียว focus ที่ technical practices และ adopt agile development techniques เป็นหลัก เช่น
- Test-driven development(TDD)
- Unit testing
- Acceptance test-driven development

สำหรับตัว ผมเองจะ Focus ที่ Technical practices coaching เป็นหลัก ซึ่งเป็นหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง แต่ในบางทีผมต้องสนใจ Level ของ Team coaching ด้วยเนื่องจากผมต้องดูแลทีมในฐานะเป็นผู้ช่วยและให้คำปรึกษาในการทำ scrum framework โดยในรายละเอียดของทั้ง 2 level จะ focus เรื่องต่างๆดังต่อไปนี้

Technical coaching

  • Discovering “code/design smells”. Places where code/design could be improved.
  • Explaining modern, “clean” code that is simple and easier to change and maintain.
  • Refactoring “smells” into clean code.
  • Writing unit tests.
  • Test-driven development.
  • Test Automation
  • Continuous integration and continuous delivery
  • Specification by Example (Acceptance Test-Driven Development)
  • Efficient and effective working practices (IDE, automation)
  • Applying design patterns

Team coaching

  • Team responsibilities with self-managing teams
  • Facilitation
  • Improving the team’s decision making and conflict resolution
  • Transparency in the team
  • Making organizational impediments visible
  • Improving the relationship between the Team and the Product Owner
  • Product Ownership (of both the team, the PO, and other stakeholders)
  • Role and contribution of the team’s management
  • Improve Scrum practices (and technical practices)
  • Educate and coach the team’s (future) Scrum Master

ซึ่งในแต่ละวันจะมีการ focus ที่แตกต่างกันไปตามสถาณการณ์และกิจกรรมของทีมและอาจจต้องใช้ skill อื่นๆนอกจาก Technical เพื่อจูงใจให้น้องๆในทีมให้ทำกิจกรรมข้างต้น (บางคนอาจเรียกว่า soft skills)

สุดท้ายแล้ว ลองเอา checklist ในแต่ละข้อไปเลือกใช้กันดูนะครับ หวังว่าน่าจะช่วย ใครหลายๆคนที่กำลัง implement scrum framwork กันอยู่นะฮะ

ขอบคุณที่อ่านจบครับ 😉

Reference

https://less.works/less/adoption/coaching.html

--

--

Amorndej <Ko-Dookie>
odds.team

เป็นเพียงผู้ชายธรรมดาๆ ที่ไม่ World Class แค่ทำทุกวันให้มีความหมายก็พอ 😉