[Galileo Gen2] Getting Started #5 : การอ่านค่าอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ (Temperature & Humidity Sensor)

Sathittham (Phoo) Sangthong
SS Blog
Published in
2 min readSep 14, 2015
687474703a2f2f7777772e696e746f726f626f746963732e636f6d2f77702d636f6e74656e742f75706c6f6164732f323031342f31322f696e74656c2d67616c696c656f2d67656e2d322e6a7067

บทนี้เราจะลองอ่านค่าอุณหภูมิและความชื้นในอากาศกันครับ ซึ่งในที่นี้เราใช้โมดูลแบบ I2C จากบริษัท Gravitech อ่านทั้งอุณหภูมิและความชื้นได้เลยครับ ซึ่งเราก็สามารถนำไปประยุกต์เป็นสถานีวัดอุณหภูมิ หรือทำ Data Logger ก็ได้ครับ

เซนเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น

(Si7005 Digital I2C Humidity and temperature sensor)

Picture1
  • Relative Humidity sensor
  • ±4.5% RH (maximum @ 0–80% RH)
  • Temperature Sensor
  • ± 0.5 ºC accuracy (typical)
  • ± 1 ºC accuracy (maximum @ 0 to 70 ºC)
  • 0–100% RH operating range
  • -40 to +85 ºC (GM) or 0 to +70 ºC operating range (FM)
  • Wide operating voltage range (2.1 to 3.6 V)
  • Low Power consumption
  • 240 µA during RH conversion
  • I2C host interface

อุปกรณ์ที่ใช้

  • 1 x Intel Galileo
  • 1 x เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น (I2C-HUTMP)
  • 4 x สายไฟแบบหัวตัวผู้/ตัวเมีย

การต่อวงจร

  • วงจรนี้เราใช้ไฟที่ 3.3V นะครับ (ต้องปรับจั๊มเปอร์ให้เป็น 3.3V ด้วยครับ)
  • Galileo <-> I2C-HUTMP
  • SCL <-> SCL
  • SCA <-> SCA
  • GND <-> GND
  • 3V3 <-> 3V3
14-9-2558 12-51-48

การเพิ่ม Library

Step 1 : ดาวโหลด Library

Step 2 : เพิ่ม Library ให้กับ Arduino IDE

  • เปิดโปรแกรม Arduino IDE
  • Sketch > Include Library > Add .Zip Library …
  • เลือกไปที่ไฟล์ Gtech_I2CHUTMP.Zip

Step 3 : ตรวจสอบการติดตั้ง

  • เปิดโปรแกรม Arduino IDE
  • File > Examples > Gtech_I2CHUTMP
  • ถ้ามีแล้วก็คือว่าติดตั้งเสร็จเรียบร้อยดีครับ

การเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านค่าจากเซนเซอร์

  • เปิดโปรแกรม Arduino IDE
  • พิมพ์โค๊ด

โค๊ดด้านบนนี้คือ

  • การอ่านค่าอุณหภูมิเป็นองศาเซลเซียล
  • การอ่านค่าความชื้นสัมพัธในอากาศเป็น %RH
  • แสดงผลลัพธ์ออกทาง Serial

อัพโหลดโปรแกรมไปบนบอร์โ Intel Galileo Gen 2

  • เสียบสายไฟ Power ให้กับ Galileo
  • เสียบสาย USB เข้ากับ Galileo และ Comptuer
  • กดปุ่ม Upload (ลูกศรชี้ทางขวา) แล้วรอจนขึ้น Done uploading

การทดสอบผลลัพธ์ด้วย Serial Monitor

  • เปิดดูผลลัพธ์ที่ Serial Monitor (ไอคอนแว่นขยาย ด้านขวาบน)

บทความที่เกี่ยวข้อง

--

--

Sathittham (Phoo) Sangthong
SS Blog

Hi! It's me Phoo! I’m a Software Developer 👨‍💻 , a Startup Entrepreneur 📱 and a Runner 🏃 . Currently, I’m a Co-Founder and CTO of a Startup name “Urbanice”.