Project Risk Management — [A Short Story] By Coach Num
เกริ่นว่าเริ่มต้นจาก PMI (Certification Body ให้ Certified สำหรับคนที่ Qualified → take exam → รับ Certificate) ซึ่ง PMI นี้ก็มี Certificate ที่ชื่อว่า PMI-RMP (Risk Management Professional)
การบริหารจัดการความเสี่ยง เป็น 1/10 Knowledge Area (PM = 40+ Process) ซึ่งใน Risk Management มีประมาณ 6 Process ที่อยู่ใต้องค์ความรู้นี้
- เริ่มจากการ Plan
- ในมุมของ Risk ควรมีเป็น 100 items ไม่ใช่แค่ 5 items ตอนต้น Project ไม่ควรมี issue แต่ควรจะมี Risk และมีจำนวนเยอะมากๆๆ ด้วย
- หลังจากที่ List แล้วก็มา create short-list ของ Risk ตามความน่าจะเป็น และ Impact
- Risk บางตัวสามารถเอาไปทำออกมาเป็นตัวเลขได้
- แล้วทำการวางแผนว่าเราจะ response มันยังไง ด้วยการ “ลดโอกาสการเกิด หรือลดความรุนแรงที่จะเกิด” แต่ถ้า Risk เป็นเชิงบวก ก็มาดูว่า “ทำยังไงถึงจะเพิ่มโอกาสนั้น”
- Monitor และ Control ด้วยการ implement risk response plan
ผู้เกี่ยวข้อง
ถ้า Project เราไม่มี Risk Team (ทีมที่ทำหน้าที่จัดการความเสี่ยง) — PM จะต้องเป็นคนแพลน แล้วจากนั้นให้คนมาช่วย Identify
- Project ที่มี Financial ใหญ่ๆ ควรจะมี Risk Team
- Plan = ไปดูว่าใครต้อง Involved แล้วเอาเข้ามาใน Project ***อย่าทำคนเดียว***
Overview
- Business Risk = Gain / Loss เช่น Product เวลาขายออกไป เราได้เงิน หรือสูญเงิน
- Pure (insurable) Risk = loss อย่างเดียว เช่น ไฟไหม้ตึก ทำอะไรไม่ได้ นอกจากทำประกันไว้
- Probability = likelihood โอกาสในการเกิดขึ้นของ Risk นี้
- Impact (consequence) = effect ของ Risk ที่เกิดขึ้น
- Risks include what can go Right (โอกาส) and go Wrong (Negative)
- “cause-risk-effect” format to naming the risk
- risk คือความไม่แน่นอนที่ยังไม่เกิดขึ้น เป็นความเสี่ยงที่อาจจะเกิด ไม่มีใครรู้ว่าจะเป็น positive or negative เราแค่ identify ว่า ถ้ามันเกิด มันอาจจะมีความเสี่ยงประมาณนี้
- As a result of a (definitive cause), an uncertain event (risk) may occur, which would/could/may lead to (effect)
- As a result of ‘lack of clear direction for scope XYZ component’, there could be ‘rework and wasted efforts’, which could ‘delay the project completion from 2–4 weeks.’
- As a result of the amount of work, the customer is trying to accomplish on many projects during this project’s completion, a delay in the customer’s response to our requests for approvals may occur, which could result in a two-week delay in project completion.
เทคนิคในการ Identify Risk
- Brainstorming
- Conduct a ‘premortem’ (ชันสูตร) คิดในแง่โหดร้ายไว้ก่อนว่าจะเฟลแน่ๆ เช่น ลูกค้าไม่ค่อยตอบเรา, เราสร้างโปรเจ็ค X จากศูนย์เดี๋ยวก็มีคนมาโจมตีเราได้
- ในขณะเดียวกันก็คิด Risk ในแง่บวกได้ว่าทีมจะ success ได้ยังไง เช่น ชวนพี่ Senior UX มาอยู่กับเรา 100% (ได้ไหมนะ?)
- Identify ให้ได้เยอะๆๆ เพื่อให้เรามี Issue น้อยๆ ระหว่างการ Implement
“ถ้าเราเห็น ลูกน้ำเยอะ เราก็คว่ำมันทิ้งก่อน จะได้ไม่ต้องมี ยุงมากัดเรา”
และยังมีเทคนิคอีกมากมาย ให้ไป Search (เพื่อทำความเข้าใจต่อได้) เช่น
Risk Register
เอาของที่เก็บมาได้ 100 items มาเก็บไว้ในนี้ เรียกมันว่า overall project list
- การเก็บ Requirement — ลูกค้าทำหลาย Project ไม่มีเวลารับนัดให้เราเก็บ Requirement ของ Project นี้เลย
- Development — เทคโนโลยีนี้ไม่เคยใช้มาก่อน อาจจะทำไม่ถูก และเสียเวลา rework
จากนั้นเอามาเก็บใน Activity เช่น
- Low Risk = Likelihood, Impact น้อย แค่ Record ไว้
- ถ้า Med, High = เอาไปทำ Quantitative แล้วหา Response Plan ต่อไป เพราะ Time/Resource เรามีจำกัด
- ตัวที่เป็น Low มันอาจจะไม่ Impact ตอนนี้ แต่อนาคตมันอาจจะกลายเป็น High ก็ได้
การทำ Probability (Likelihood) กับ Impact โอกาสที่มันควรเกิดขึ้น ไม่ควรมากกว่า 8 ถ้ามันเกิน แสดงว่ามันเป็น Fact ไม่ใช่ Risk ต้อง Handle ในรูปแบบอื่น
“ในโลกความจริง ไม่ใช่ทุก Risk ที่อาจจะเกิดขึ้น จะเกิดขึ้น”
- Monetary = เมื่อ Impact เริ่มกลายเป็นตัวเงินที่สามารถวัดได้
- Likelihood = ยังไม่เกิด แค่มันมีโอกาสเกิด ทั้ง 5 ข้อในโจทย์ ถือว่าเป็น Risk
- โดยข้อ B., D. = Opportunity นอกนั้นเป็น Threats
โจทย์
ด้วยความเสี่ยงทั้งหมดที่ได้มา เอามาเข้าสูตร EMV จากนั้นเอาตัวเลขมาบวกรวมกัน
เมื่อทำ Risk Assessment เสร็จแล้ว ก็จะมองเห็นว่า เราควรของบเพิ่มเท่าไหร่ในการทำงานนี้ (ที่ตั้งต้น 600k อาจจะไม่ได้เท่านั้น ถ้าเจอ EMV กับ Worst case เข้าไป)
- ไม่เคยใช้เทคโนโลยีนี้ก็ไม่ต้องใช้มัน (ได้ไหมน้า)
- ใช้ Supplier มากกว่าหนึ่ง เผื่อว่าอีกเจ้าเกิดน้ำท่วม/ไฟไหม้โกดัง
- หรือเอาไปให้คนอื่นทำ (โยนให้ลูกค้าเป็นคนสั่งของไปเลย) แล้วเราค่อยมาประกอบ
- ทำใจว่า “ถ้ามันจะเกิด มันจะเกิด” โดยการทำแพลน และแผนรองรับทั้ง + และ -
Threats
- อย่าแพลนแล้วเก็บไว้ พยายามกลับมา Define มัน ระหว่างทางก็ต้องทำพวกนี้เพิ่มเติมขึ้นไป
- อย่าแพลนแล้วทิ้ง เมื่อแพลนแล้วรู้ Risk ก็ควร Re-estimate ใหม่ ว่า Project Cost/timeline เพิ่มเท่าไหร่
- แล้วก็ communicate เพื่อให้ทุกคนเข้าใจตรงกันในเรื่อง Risk เหล่านี้
Management Reserve = ขอเวลา / ขอเงินเพิ่มมาก่อน โดยการ มั่ว 10%, เดามั่วกว่าเดิม, ใช้หลักการการคิดเงินข้อที่ผ่านมา
เป็น Session ที่ผู้พูดของเราเป็น the rapper ไฟแล่บมาก ทางนี้ก็รัวนิ้ว สมองหมุนเร็วจี๋เหมือนกัน แต่ก็ได้ประโยชน์มากขั้นสุด ขอขอบคุณโค้ชพี่หนุ่มไว้ตรงนี้อีกครั้งค่ะ ❤
บทความโดย พริ้ว Digital Project Manager, WEDO
Originally published at https://priwziest.medium.com on February 21, 2022.