เราคุ้นเคยกับกราฟระฆังคว่ำกันดี บางคนเรียกเบลล์เคิร์ฟ (Bell Curve) บางคนรู้จักมันในนามของการกระจายตัวแบบมาตรฐาน (Standard Distribution) ใจความสำคัญของมันคือในบริบทใดๆก็ตามเราสามารถมองภาพการกระจายตัวของตัวเลขหรือปริมาณได้ตามกราฟนี้
อาจจะเพราะความโชคร้ายหรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เราทุกคนเคยมีส่วนร่วมกับงานบางชิ้นที่ไม่เคยเสร็จสมบูรณ์เพียงพอที่จะสร้างประโยชน์ให้ผู้มีส่วนร่วมได้อย่างที่ตั้งใจไว้
โปรเจกต์ที่ถูกโฆษณาไว้อย่างสวยหรู ซอฟต์แวร์ล้ำยุคที่ถูกป่าวประกาศออกไปในวงกว้าง…
ระหว่างไอเดียของเราบนกระดาษกับงานที่เรามอบหมายให้ทีมพัฒนาโปรดักท์ทำนั้น … มันมีช่องว่างขนาดใหญ่อยู่ ช่องว่างที่เรียกว่า “โลกความจริง”
อะไรคือเรื่องที่น่าอึดอัดที่สุดเมื่อต้องพูดตรงๆกับใครสักคน?
“เงิน” คือคำตอบนั้น
เงินเป็นเรื่องละเอียดอ่อน เงินเป็นวัตถุที่สร้างความขัดแย้งได้ง่าย เงินคือจุดเริ่มต้นของความคาดหวัง
จนกว่าสตาร์ทอัพจะพร้อมสยายปีกบินด้วยความมั่นใจในการขายและขายแล้วก็ขาย (มันยากมากว่าจะไปถึงจุดที่เราพิสูจน์สมมติฐานและค้นหาแนวทางการทำธุรกิจที่ทำซ้ำได้และขยายตัวได้) ในองค์กรของเราจะมีแค่สองทีม
“แม่คะ หนูขอซื้อโทรศัพท์ใหม่ได้มั้ยคะมันดีมากเลยนะ เครื่องแรง กล้องดี หนูไว้ถ่ายวิดีโอส่งอาจารย์ได้ด้วย” — หนูน้อยกล่อมแม่ด้วยความหวังเรืองรอง
“อะไร ซื้อใหม่อีกแล้ว เครื่องนี้ยังไม่ถึงสองปีเลยนะ ดูแม่สิ ใช้มาจะสามปีแล้วยังดีอยู่เลย ไม่เอาๆ…
ผมได้รับคำแนะนำด้วยความหวังดีจากผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและการจัดซื้อท่านหนึ่ง
“เราได้เทียบราคาของพาร์ทเนอร์รายนี้กับรายอื่นๆบ้างรึเปล่าครับ ปกติแล้วต้องเทียบราคานะ เราจะได้รู้ว่าเราไม่จ่ายแพงเกินไป”
มันไม่ใช่แค่การเชื่อมโยงระหว่างสินค้าหรือบริการและผู้บริโภค มันไม่ใช่แค่การดึงกลุ่มเป้าหมายให้มาสนใจสิ่งที่เราทำ มันไม่ใช่แค่การสร้างยอดขาย และแน่นอนว่ามันไม่ใช่แค่การเพิ่มยอดไลค์ยอดแชร์
การตลาดคือความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่างของผู้บริโภคด้วยสินค้าหรือบริการของเรา
เฟิร์ส-ทู-มาร์เก็ต … ความคิดเบื้องหลังมักจะเป็นแบบนี้
“ฉันต้องการออกตลาดให้ได้เป็นคนแรก ฉันพร้อมเร่งงาน ลดราคาและอัดโปรโมชั่นแบบไม่อั้นเพื่อยึดส่วนแบ่งตลาด”
ฟาสต์-ทู-มาร์เก็ต … ความคิดเบื้องหลังมักจะเป็นแบบนี้